แอสตาแซนธิน (Astraxanthin): สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
scrolling="no" frameborder="0" style="border:none; overflow:hidden; width:100px; height:27px;" allowTransparency="true">
สวัสดีค่าาา สาวๆ ถ้าใครติดามบล็อกปุ้ยในช่วงนี้
จะรู้ว่าปุ้ยกำลังให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ และความสวยความงามจากภายในเป็นหลัก การใส่ใจตนเองในระดับที่มากเป็นพิเศษแบบนี้ ก็เนื่องจาการย่างก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ อายุขึ้นเลข 3 ของปุ้ยนั่นเอง หลังจากที่เริ่มศึกษา ค้นคว้า อยู่ในวงการอาหารเสริม และเวชศาสตร์การชะลอวัยอยู่มาพอสมควร ปุ้ยก็ได้รับความรู้เพิ่มเติมที่น่าสนใจมากมาย
ในบล็อกนี้เองก็เช่นกัน ปุ้ยอยากจะแนะนำให้สาวๆ ได้รู้จักกับสารต้านอนุมูลอิสระที่เจ๋งมากๆ ตัวหนึ่งค่ะ นั่นก็คือ “แอสตาแซนธิน ” มาดูกันค่ะว่า สารตัวนี้มีประโยชน์และมีสรรพคุณดีๆ ต่อร่างกายเราอย่างไรบ้าง
ด้วยโครงสร้างทางเคมีรูปแบบจำเพาะเหมือนกับสารแคโรทีนอยด์ และความสามารถที่เหนือกว่าในการปรับตัวอยู่ในชั้นผนังเซลล์ได้ทั้งชั้นน้ำและชั้นไขมัน มีผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ทำการศึกษาประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ พบว่า แอสตาแซนธิน จึงมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ ดังนี้
• สูงกว่ากว่า วิตามิน ซี 6,000 เท่า, CoQ10 800 เท่า, วิตามิน อี 550 เท่า, Green tea catechins 550 เท่า, Alpha lipoic acid 75 เท่า,
เบต้า แคโรทีน 40 เท่า และ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 17 เท่า [โอ้โห เยอะมากๆ นะเนี่ย] • การเปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ (วิตามินอีธรรมชาติ วิตามินเอ วิตามินซี เบต้าเเคโรทีน ไลโคปีน ลูทีน)
+ ป้องกันการเกิดเพอร์ออกซิเดชั่นของไขมันได้อย่างดีเยี่ยม+ เป็นสารกำจัดสารอนุมูลอิสระที่แรงที่สุด
+ กระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน + มีประสิทธิภาพช่วยป้องกันการอักเสบ • การป้องกันเมื่อใช้งานร่วมกับสารอื่น
สรุปประโยชน์ของสารแอสตาแซนธิน
นอกจากเป็นสารต้านอนุมูลอิสระได้ดีเยี่ยม ยังมีประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆ ดังนี้ค่ะ ● ช่วยให้ผิวคงความอ่อนวัย ลดริ้วรอย ความหย่อนคล้อยและจุดด่างดำ ● ช่วยบำรุงสายตา ลดอาการเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้คอมพิวเตอร์ ● ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย ● ช่วยดูแลสุขภาพกระเพาะอาหาร ● ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เส้นเลือดในสมองแตก แอสตาแซนธิน เหมาะสำหรับใครบ้าง
● ผู้ที่ใส่ใจในสุขภาพทุกเพศทุกวัย
● ผู้ที่ใส่ใจในความงามและสุขภาพผิว ● ผู้ที่ต้องเผชิญกับมลภาวะต่างๆ เป็นประจำเช่นความเครียด ฝุ่นควันจากท่อไอเสียรถยนต์ เป็นต้น ● ผู้ที่ต้องทำงานใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ● นักกีฬาและผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ พอลองศึกษาดูแล้ว ปุ้ยว่า แอสตาแซนธิน เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่น่าสนใจมาก ซึ่งตอนนี้ก็มีการสกัดมาทำเป็นอาหารเสริม ภายใต้ลิขสิทธิ AstaREAL®Astaxanthin เป็นเครื่องหมายการค้าของ บริษัท ฟูจิ เคมีคอล อินดัสตรี้ จำกัด ประเทศญี่ปุ่น (Fuji Chemical Industry)
ปุ้ยก็ได้มาทดลองบริโภค แม้จะเพิ่งเริ่มต้น แต่ก็มีความมั่นใจว่า ผลลัพธ์ในระยะยาวต้องเป็นที่พึงพอใจมากๆ อย่างแน่นอนค่ะ ^ ^ ผลิตภัณฑ์สามารถรับประทานได้ง่าย เพราะว่าถูกบรรจุอยู่ในเม็ดเจลแคปซูลสีดำขนาดเล็ก
เหมาะสำหรับคนที่กลืนยายาก อย่างปุ้ยเลย ชอบอีกแล้ว ^ ^ ปุ้ยบริโภคทุกวัน ก่อนนอน และก่อนจับผลิตภัณฑ์ล้างมือให้สะอาดนะคะ จากนั้นก็ดื่มน้ำตามมากๆ แล้วก็นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ถ้ามีโอกาสออกกำลังกายบ่อยๆ ด้วยก็ยิ่งดีเลย สุขภาพจะแข็งแรงและสารต้านอนุมูลอิสระก็จะทำให้ได้ดียิ่งขึ้น รวมถึงเราควรบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ สะอาด และครบทั้ง 5 หมู่ เพื่อให้ร่างกายเราสามารถนำอาหารมาเป็นแหล่งวัตถุดิบในการพื้นฟูการทำงานของร่างกายได้อย่างดีค่ะ |
และนอกจากเรื่องสุขภาพแล้ว สิ่งที่ปุ้ยชอบก็คือ แอสตาแซนธิน มีคุณสมบัติในการช่วยบำรุงผิว ทำให้ผิวดูอ่อนกว่าวัย เพิ่มความเต่งตึง และความยืดหยุ่นให้กับผิว เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิว ช่วยลบเลือนริ้วรอย และสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งผิวหนังจากรังสี UV ได้ดังนี้ค่ะ
1. เพิ่มความสามารถของผิว ในการปกป้องสารที่จำเป็นสำหรับผิว ด้วยกระบวนการฟื้นฟูสมดุลของสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ตามธรรมชาติ (SOD, CAT, GSH) ป้องกันการเกิด Lipid Peroxidation
2. ลดรอยผื่นแดง ด้วยกระบวนการยับยั้งกระบวนการอักเสบ
3. ปกป้อง และลดริ้วรอย ที่เกิดจากรังสี UV เพื่อเพิ่มความเต่งตึง และความยืดหยุ่นและความชุ่มชื้นให้กับผิวให้กับผิว ด้วยกระบวนการปกป้องเซลล์ผิวจากสารอนุมูลอิสระ ทำให้กระบวนการซ่อมแซมผิวชั้นคอลลาเจนเป็นไปอย่างปกติ
จากการวิจัย (Yamashita 2002) โดยทำการทดลองกับผู้หญิงจำนวน 8 คนที่มีผิวแห้ง (อายุเฉลี่ย 40 ปี) ทานอาหารเสริมที่มี Astaxanthin 2 มิลลิกรัม และ Tocotrienol ธรรมชาติ (Super vitamin E) 40 มิลลิกรัมเป็นประจำทุกวัน จากนั้นทำการเก็บข้อมูลในสัปดาห์ที่ 2 และ 4 และนำไปเปรียบเทียบกับค่าเริ่มต้นก่อนใช้ พบว่าความแตกต่างสามารถวัดได้ภายใน 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์ พบว่าผู้ทดลองที่มีผิวแห้งมีการปรับปรุงสภาพผิวดังนี้: ระดับความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น (P<0.05) ,ปริมาณน้ำมันตามธรรมชาติที่ผิวคงที่ และริ้วรอยลดลง และ พบว่าสิวเสี้ยนน้อยลง (P<0.01) อ้างอิง
โดยส่วนตัวของปุ้ยแล้ว
ปุ้ยเชื่อมั่นในการดูแลตัวเอง ให้ “สวยจากภายใน” ว่าได้ผลที่ดีและเห็นชัดเจนกว่าการบำรุงจากภายนอก ดังนั้นปุ้ยจะให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องอาหารหลักและอาหารเสริมมากๆ เนี่ยแหละ ปุ้ยหวังว่าข้อมูลที่ปุ้ยศึกษาและรวบรวมมาในบล็อกนี้ จะสามารถเป็นประโยชน์ให้สาวๆ ได้รับความรู้และเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการดูแลตนเองอย่างมีประสิทธิภาพนะคะ
ความสวยเป็นภารกิจของสาวๆ ทุกคน สายงามด้วยวิถีทางที่สร้างสรรค์ และแบ่งปันให้กันและกันด้วยนะคะ
พบกันใหม่ในบล็อกหน้า บั๊ยบายค่าาาาา |
เรียลลิแคร์ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แอสตาแซนธิน
RealikareAstaREAL®Astaxanthin
Dietary Supplement Product Astraxanthin Extract ส่วนประกอบที่สำคัญ 1 เม็ด ประกอบด้วย:
สารสกัดจากไมโครแอลจี ฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส (AstaREAL®)18 มก. (4.5 %) (ให้แอสตาแซนธินธรรมชาติ 2 มก.) วิธีรับประทาน : รับประทานวันละ 1 เม็ด ราคา : 990 .- บาท
ขณะนี้มีโปรโมชั่น
ซื้อสินค้า 2 ชิ้น รับฟรีทันที่ 1 ชิ้น เว็บไซต์ http://www.gowell.co.thสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 02 3159133-36
|
สถานที่จัดจำหน่าย
ร้าน Balance shop สาขาบางนา โทร 02 3991870-7
ร้าน Safe & save pharmacy (สาขาศรีนครีครินทร์) โทร 02 3838645-6 ร้าน Save & save phamacy (สาขาเอกมัย) โทร 02 7148266-7 ร้าน Get Healthy (อาคารบางกอกเมดิเพล็กซ์) โทร 02 7123 253 ร้าน KS Phamacy (อโศก) โทร 02 252 1916 ร้าน Vitamin club (สาขา เซ็นทรัล ลาดพร้าว , เซ็นทรัล ปิ่นเกล้า , เซ็นทรัล พระราม 3 และ เซ็นทรัล พระรามเก้า) ร้าน แสนดี เฮลท์ช็อป ถ.ช้างม่อย จ.เชียงใหม่ โทร 053-233405 081-8297582 ร้าน เย็นใจ เภสัช (โครงการปันนา หน้ามช. ข้างร้าน Mo C Mo L) 233/3 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร 087-301-6840 ร้าน Siam Drug- ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ ชั้น1 โทร.02-234-0123
- พัฒน์พงศ์ 2 ถ.พัฒน์พงศ์ 2 โทร.02-237-1310 - ศูนย์การค้ารอยัลการ์เด้นริเวอร์ไซด์ ชั้น 1 โทร. 02-476-6212 - ซีคอนสแควร์ ชั้นใต้ดิน โทร.02-721-8511 - เซ็นทรัล พระราม 3 ชั้นใต้ดิน โทร.02-673-6356 - เซ็นทรัล แอร์พอร์ต พลาซ่า ชั้น G จ.เชียงใหม่ โทร.(053)903-575 - ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล (บิ๊กซี) พัทยา ชั้น 1 จ.ชลบุรี โทร. (038)361-294 - 52-3 ชั้น 3 อาคารสีลมออฟฟิศคอนโดมิเนียม ซ.ศาลาแดง 2 ถ. สีลม กรุงเทพฯ |
References
1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.